Part 2: Improving Students’ Learning with Effective Learning Techniques: Promising Directions from Cognitive and Educational Psychology


By John Dunlosky, Katherine A. Rawson, Elizabeth J. Marsh,
Mitchell J. Nathan, and Daniel T. Willingham

การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยเทคนิคการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ:การสัญญารับคำสั่งจากจิตวิทยาการศึกษาและกระบวนการการรับรู้
โดย จอร์น ดัลลอสกี้, แคทเธอรีน เอ รอว์ซัน, อลิซาเบธ เจ มาร์ช,
มิเชล เจ นาธาน และ ดาเนียล ที วิลลิ่งแฮม

         Which learning techniques made the grade? According to the authors, some commonly used techniques, such as underlining, rereading material, and using mnemonic devices, were found to be of surprisingly low utility. These techniques were difficult to implement properly and often resulted in inconsistent gains in student performance. Other learning techniques such as taking practice tests and spreading study sessions out over time — known as distributed practice — were found to be of high utility because they benefited students of many different ages and ability levels and enhanced performance in many different areas.
         เทคนิคการเรียนรู้ไหนทำให้ได้เกรดดี ตามที่ผู้เขียนได้กล่าวไว้ เทคนิคบางอย่างที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย เช่น การขีดเส้นใต้ การอ่านทบทวน และการใช้อุปกรณ์ที่ช่วยในการจดจำพบว่ามีประโยชน์ต่ำอย่างน่าประหลาด เป็นเรื่องยากที่จะใช้เทคนิคเหล่านี้ได้อย่างเหมาะสมและบ่อยครั้งให้ผลลัพธ์ที่ไม่สอดคล้องกัน ในการเรียนของนักเรียน เทคนิคการเรียนรู้อื่นๆ เช่น การฝึกฝนการทำข้อสอบและการเพิ่มเวลาศึกษานอกเวลา หรือที่เรียกว่าการฝึกฝนช่วงสั้น พบว่ามีประโยชน์อย่างสูง  เพราะมีประโยชน์ต่อนักเรียนที่อยู่ในช่วงอายุและความสามารถที่แตกต่างกันจำนวนมาก และปรับปรุงผลการเรียนในหลากหลายสาขาวิชา
       The real-world guidance provided by this report is based on psychological science, making it an especially valuable tool for students, parents, and teachers who wish to promote effective learning. Although there are many reasons why students struggle in school, these learning techniques, when used properly, should help provide meaningful gains in classroom performance, achievement test scores, and many other tasks students will encounter across their lifespan.
        งานวิจัยฉบับนี้ได้จัดหาคำแนะนำสำหรับโลกนอกห้องเรียน โดยวางอยู่บนพื้นฐานจากจิตวิทยา จัดทำขึ้นเป็นเครื่องมือมีคุณค่าเป็นพิเศษสำหรับ นักเรียน ผู้ปกครอง และครูที่ต้องการส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่าจะมีหลายหลากเหตุผลที่นักเรียนต่อสู้ดิ้นรนในโรงเรียน แต่เทคนิคการเรียนเหล่านี้เมื่อใช้อย่างเหมาะสม จะช่วยให้ได้รับประโยชน์ในผลการปฏิบัติงานในชั้นเรียน คะแนนการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และงานอื่นๆอีกมากมายที่นักเรียนจะเผชิญตลอดช่วงชีวิต


อ้างอิง: John Dunlosky, Katherine A. Rawson, and groups. Improving Students’ Learning with Effective Learning Techniques: Promising Directions from Cognitive and Educational Psychology.(ออนไลน์).สืบค้นจาก http://www.psychologicalscience.org/index.php/publications/journals/pspi/learning-techniques.html. [7 มกราคม 2556].