By John Dunlosky,
Katherine A. Rawson, Elizabeth J. Marsh,
Mitchell J. Nathan,
and Daniel T. Willingham
การพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยเทคนิคการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ:การสัญญารับคำสั่งจากจิตวิทยาการศึกษาและกระบวนการการรับรู้
โดย
จอร์น ดัลลอสกี้,
แคทเธอรีน เอ รอว์ซัน, อลิซาเบธ เจ มาร์ช,
มิเชล
เจ นาธาน และ ดาเนียล ที วิลลิ่งแฮม
|
|
Some students seem to breeze through their school years, whereas others
struggle, putting them at risk for getting lost in our educational system and
not reaching their full potential. Parents and teachers want to help students
succeed, but there is little guidance on which learning techniques are the
most effective for improving educational outcomes. This leads students to
implement studying strategies that are often ineffective, resulting in
minimal gains in performance. What then are the best strategies to help
struggling students learn?
Fortunately
for students, parents, and teachers, psychological scientists have developed
and evaluated the effectiveness of a wide range of learning techniques meant
to enhance academic performance. In this report, Dunlosky (Kent State
University), Rawson (Kent State University), Marsh (Duke University), Nathan
(University of Wisconsin–Madison), and Willingham (University of Virginia)
review the effectiveness of 10 commonly used learning techniques.
|
นักเรียนบางคนดูเหมือนจะสอบผ่านไปอย่างง่ายดายในแต่ละปีการศึกษา
ในขณะที่คนอื่นๆต้องดิ้นรนต่อสู้ชีวิต
แขวนอยู่บนความเสี่ยงที่จะจมหายไปในระบบการศึกษาและไปไม่ถึงศักยภาพเต็มที่ของตนเอง
ผู้ปกครองและคุณครูต้องการช่วยเหลือนักเรียนให้ประสบความสำเร็จ
แต่มีเพียงแค่คำแนะนำเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น
เทคนิคการเรียนรู้เป็นสิ่งที่มีประสิทธิภาพที่สุด
เพื่อการพัฒนาผลลัพธ์ทางการศึกษา ทำให้นักเรียนเลือกใช้วิธีการในการศึกษา
ซึ่งบ่อยครั้งไร้ประสิทธิภาพ เป็นผลให้ได้รับประโยชน์เพียงหยิบมือในการเรียน
แล้วอะไรคือวิธีการที่ดีที่สุดที่จะช่วยนักเรียนที่กำลังดิ้นรนหาความรู้
เป็นเรื่องโชคดีสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง และคุณครู
นักจิตวิทยาได้พัฒนาและประเมินประสิทธิภาพในขอบข่ายที่กว้างของเทคนิคการเรียนรู้ต่างๆ
เพื่อปรับปรุงการเรียนด้านวิชาการในงานวิจัยฉบับนี้ ดัลลอสกี้
(มหาวิทยาลัยเคนต์สเตต) รอว์สัน (มหาวิทยาลัยเคนต์สเตต) มาร์ช ( มหาวิทยาลัยดุ๊ก ) นาธาน ( มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน
แมดิสัน ) และวิลลิ่งแฮม ( มหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย )
ได้ตรวจสอบประสิทธิภาพของเทคนิคการเรียนรู้ที่ใช้อย่างแพร่หลาย 10 เทคนิคด้วยกัน
|
The authors describe each learning technique in detail and discuss the
conditions under which each technique is most successful. They also describe
the students (age, ability level, etc.) for whom each technique is most
useful, the materials needed to utilize each technique, and the specific
skills each technique promotes. To allow readers to easily identify which
methods are the most effective, the authors rate the techniques as having
high, medium, or low utility for improving student learning.
|
คณะผู้เขียนอธิบายถึงแต่ละเทคนิคอย่างละเอียดและอภิปรายปัจจัยแวดล้อมต่างๆ
ที่ทำให้แต่ละเทคนิคประสบผลสำเสร็จมากที่สุด อีกทั้งยังอธิบายถึงนักเรียน( อายุ
ระดับความสามารถ ฯลฯ )
นักเรียนประเภทใดที่จะได้รับประโยชน์สูงสุดสำหรับแต่ละเทคนิคเครื่องมือที่จำเป็นต้องใช้ให้เกิดประโยชน์ในแต่ละเทคนิค
ทักษะเฉพาะที่ แต่ละเทคนิคช่วยพัฒนา เพื่อง่ายต่อการแยกแยะว่า วิธีการไหนมีประสิทธิภาพสูงสุด
คณะผู้เขียนได้จัดลำดับประสิทธิภาพของเทคนิคต่างๆไว้ในช่วงระดับ สูง กลาง และต่ำ
เพื่อการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน
|
อ้างอิง: John
Dunlosky, Katherine A. Rawson, and groups. Improving Students’ Learning
with Effective Learning Techniques: Promising Directions from Cognitive and
Educational Psychology.(ออนไลน์).สืบค้นจาก http://www.psychologicalscience.org/index.php/publications/journals/pspi/learning-techniques.html.
[7 มกราคม 2556].
|
|